อาจารย์อนินท์ มีมนต์

อาจารย์อนินท์ มีมนต์

อาจารย์อนินท์ มีมนต์
Anin MEEMON

อาจารย์
Instructor

โทรศัพท์/Telephone: 0 2549 3490 โทรสาร/Fax: 0 2549 3442
E-mail: anin.m@en.rmutt.ac.th

 

ประวัติการศึกษา Educational Background


กำลังศึกษาต่อ ปริญญาเอก ที่ Kyoto Institue of Technology,Japan
M.Eng. (Industrial Production Technology), Kasetsart University (KU), 2009
B.Eng. (Industrial Engineering), Rajamangala University of Technology Thunyaburi (RMUTT), 1996

รายวิชาสอนที่มีความชำนาญพิเศษ Expertise Coursework

  • Composite materials (Bio-composite)
  • Plastics Injection Molding
  • Computer Aided Design
  • Manufacturing process

ผลงานทางวิชาการ Academic Work


ประสบการณ์ฝึกอบรม

  • International Certificate in Process Operation (Process operation), Canada, 1997
  • Cert. (The Application of Computer Aided Design; Inventor 8), ACTC, RMUTT, 2004
  • วิทยากรบรรยาย และวิทยากรฝึกปฏิบัติ, โครงการ “ระบบความสามารถของบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนต์ สาขางานฉีดพลาสติก (Plastic injection)”, สถาบันยานยนต์, กระทรวงอุตสาหกรรม
  • วิทยากรบรรยาย, โครงการ “ระบบรับรองความสามารถของบุคลากรในอุตสาหกรรม    ยานยนต์ สาขางาน Machining (NC-Lathe, NC-Milling)”, สถาบันยานยนต์, กระทรวงอุตสาหกรรม
  • ผู้ตรวจประเมิน, โครงการ “ระบบรับรองความสามารถของบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนต์ สาขางาน Mechanical Drawing by CAD”, สถาบันยานยนต์, กระทรวงอุตสาหกรรม
  • ผู้ตรวจประเมิน, โครงการ “ระบบรับรองความสามารถของบุคลากรในอุตสาหกรรมยานยนต์ สาขางาน Pneumatic Circuits and Apparatus  Devices Assembling”, สถาบันยานยนต์, กระทรวงอุตสาหกรรม
  • คณะอนุกรรมการเทคนิคแข่งขัน ฝีมือแรงงานแห่งชาติ ครั้งที่ 23 ประจำปี 2552 สาขาออกแบบและเขียนแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์, สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 3 ชลบุรี, กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม

ประสบการณ์เขียนตำรา / หนังสือ

  1. ชวลิต  แสงสวัสดิ์, วีระศักดิ์  หมู่เจริญ, วารุณี  กลิ่นไกล และอนินท์  มีมนต์, 2549,“คู่มือหลักสูตรการสอนและฝึกอบรม งานฉีดพลาสติกระดับ 1”, สถาบันยานยนต์, 95 หน้า.
  2. ชวลิต  แสงสวัสดิ์, วีระศักดิ์  หมู่เจริญ, วารุณี  กลิ่นไกล และอนินท์  มีมนต์, 2549,   “คู่มือหลักสูตรการสอนและฝึกอบรม งานฉีดพลาสติกระดับ 2”, สถาบันยานยนต์, 175 หน้า.
  3. ชวลิต  แสงสวัสดิ์, วีระศักดิ์  หมู่เจริญ, วารุณี  กลิ่นไกล และอนินท์  มีมนต์, 2549,  “คู่มือหลักสูตรการสอนและฝึกอบรม งานฉีดพลาสติกระดับ 3”, สถาบันยานยนต์, 250 หน้า.
  4. กิตติพงษ์ กิมะพงษ์, อนินท์  มีมนต์, วิเชียร  เถื่อนเครือวัลย์ และ บุญส่ง  จงกลณี, 2550, “คู่มือหลักสูตรการสอนและฝึกอบรม งานกัด-กลึงกึ่งอัตโนมัติ ระดับ 3”, สถาบันยานยนต์, 395 หน้า.
  5. กิตติพงษ์  กิมะพงศ์, ศิริชัย  ต่อสกุล, นรพร  กลั่นประชา และอนินท์  มีมนต์, “วัสดุวิศวกรรม”, บริษัท พงษ์วรินการพิมพ์ จำกัด, กรุงเทพ, 2553.

ประสบการณ์งานวิจัย Research Experience

งานวิจัยที่เสร็จแล้ว

  1. การผลิตไม้เทียมจากเศษโฟมพีวีซีกับ ผงไม้ (Production or Wood plastic composite from PVC foam scrap and Wood dust) เงินอุดหนุนโครงการวิจัย IRPUS ปีงบประมาณ 2548, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, งบประมาณ 140,000 บาท, หัวหน้าโครงการ.
  2. การออกแบบและสร้างเครื่องปิดผนึก ถ้วยพลาสติกแบบอัตโนมัติ (Design and Construction Automatic Sealing Machine for Plastic Cup) ,โครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อชนบท ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550, สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, งบประมาณ 155,960 บาทหัวหน้าโครงการ.
  3. เครื่องบรรจุและปิดผนึกพริกป่นแบบ ซองพลาสติก (A Machine for Fill and Seal Chilies Pound in Plastic Bag), เงินอุดหนุนโครงการวิจัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, งบประมาณ 260,000 บาทหัวหน้าโครงการ.
  4. โครงการนำเสนอผลงานโครงการ ประดิษฐกรรมเพื่อการพัฒนาชนบท, โครงการวิจัยและพัฒนา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551,  สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, งบประมาณ 582,040 บาทหัวหน้าโครงการ.
  5. เครื่องเคลือบกระดาษสาด้วยฟิล์มพี วีซี (A Machine for Laminating Mulberry Paper by PVC Films), เงินอุดหนุนโครงการวิจัย IRPUS ปีงบประมาณ 2551, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, งบประมาณ 150,000 บาท, หัวหน้าโครงการ.
  6. เครื่องบรรจุภัณฑ์อาหารแบบถุง พลาสติกด้วยระบบสุญญากาศ (A Vacuum Packaging Machine for Food Products in Plastic Bag by Vacuum System), เงินอุดหนุนโครงการวิจัย IRPUS ปีงบประมาณ 2551, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, งบประมาณ 150,000 บาท, ผู้ร่วมโครงการ.
  7. เครื่องผลิตน้ำดื่มแบบถ้วยพลาสติก (A Machine for Produce Drinking Water in Plastic Cups) โครงการพัฒนาประดิษฐกรรมเพื่อชนบท ประจำปีงบประมาณ    พ.ศ. 2551,  สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, งบประมาณ 262,400 บาทหัวหน้าโครงการ.
  8. เครื่องพิมพ์ฟอล์ยบนแผ่นกระดาษสา เคลือบฟิล์มพีวีซี (A machine for printing foils on PVC-laminated mulberry paper), เงินอุดหนุนโครงการวิจัย IRPUS ปีงบประมาณ 2552, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, งบประมาณ 150,000 บาท, หัวหน้าโครงการ.
  9. เครื่องปิดฝาเกลียวกันปลอมสำหรับ ขวดด้วยระบบกึ่งอัตโนมัติ (A Semi-Automatic Capping Machine of Pilfer-proof Cap for the Bottles), เงินอุดหนุนโครงการวิจัย IRPUS ปีงบประมาณ 2552, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, งบประมาณ 150,000 บาท, ผู้ร่วมโครงการ.
  10. การผลิตไม้อัดจากซังข้าวโพดสำหรับ เป็นผนังฉนวนความร้อนในอาคาร (Production of Plywood from Corncob for Heat Resistance Wall in Building),  เงินอุดหนุนโครงการวิจัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช), งบประมาณ 273,900 บาทหัวหน้าโครงการ.
  11. การศึกษาอิทธิพลของอุณหภูมิและเวลา การให้ความร้อนต่อสมบัติทางกลของเหล็กเส้นรีดซ้ำจากเหล็กข้ออ้อยที่ผ่านการ ใช้งานแล้ว (Effect of Temperature and Time in Heating Process on Mechanical of Re-rolled Round Bars from Used Double Reinforce Bars), เงินอุดหนุนโครงการวิจัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช), งบประมาณ 197,000 บาท, ผู้ร่วมโครงการ.
  12. การศึกษาวัสดุผสมธรรมชาติจากโปรตีน ถั่วเหลืองผสมเยื่อหญ้าแฝกสำหรับฉีดขึ้นรูปถ้วยชนิดย่อยสลายได้     (A study of bio-composite from soy proteins and vetiver grass fiber for inject degradable cups), เงินอุดหนุนโครงการวิจัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช), งบประมาณ 200,000 บาทหัวหน้าโครงการ.
  13. เครื่องอัดปลาร้าก้อนด้วยระบบนิวแม ติก (A Machine for Compress Cubic of Pickled Fish by Pneumatic System) โครงการวิจัยด้านการเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรเพื่อการส่งออกและการลดการนำเข้า ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช), งบประมาณ 375,000 บาทผู้ร่วมโครงการ.
  14. การออกแบบและสร้างเครื่องพิมพ์ สกรีนจำนวน 6 สี (Design and Construction the 6 Colors Screen Printing Machine), โครงการพัฒนาประดิษฐกรรมเพื่อชนบท ประจำปีงบประมาณ    พ.ศ. 2552, สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, งบประมาณ 728,248 บาทผู้ร่วมโครงการ.
  15. การศึกษาสภาวะการตัดเฉือนไม้เทียม จากเศษโฟมพีวซีกับผงไม้ยางพาราด้วยกระบวนการกัดสำหรับสร้างแม่พิมพ์มาสเตอร์ โมเดล (Investigation into  the milling condition of wood plastic composite from PVC foam scrap and rubber tree saw dust for making a master model mould), เงินอุดหนุนโครงการวิจัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช), งบประมาณ 314,800หัวหน้าโครงการ.
  16. เครื่องบรรจุและปิดผนึกซองคู่พริก ป่นและน้ำตาลด้วยฟิล์มพลาสติก (A Machine for Fill and Seal Chilies Pound and Sugar in Plastic Bag), โครงการสนับสนุนการวิจัยขยายผลสู่การปฏิบัติและพัฒนาต่อยอดงานวิจัยและสิ่ง ประดิษฐ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช), งบประมาณ 440,505 บาท, หัวหน้าโครงการ.
  17. เครื่องขึ้นรูปเกลียวเส้นเชือก จากกระดาษกล้วย (A Machine for Strand the Whipcord from Banana Paper), โครงการสนับสนุนการวิจัยขยายผลสู่การปฏิบัติและพัฒนาต่อยอดงานวิจัยและสิ่ง ประดิษฐ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช), งบประมาณ 339,105 บาท, ผู้ร่วมโครงการ.
  18. การศึกษากระบวนการใช้เศษแก้วรีไซ เคิลผลิตแผ่นแก้วสีตกแต่งผนัง.ภายในอาคาร (A Study of forming glass plate from glasses recycles for decoration the internal walls), เงินอุดหนุนโครงการวิจัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช), งบประมาณ 137,000, ผู้ร่วมโครงการ.
  19. เครื่องจักตอกเศษไม้ไผ่เหลือใช้จาก ผลิตภัณฑ์ข้าวหลาม  (A machine for split the bamboo scraps from glutinous rice roasted in bamboo joints), เงินอุดหนุนโครงการวิจัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช), งบประมาณ 184,000, ผู้ร่วมโครงการ.
  20. เครื่องสร้างบรรจุภัณฑ์ปลาร้าก้อน แบบบลิสเตอร์แพ๊ค (A Packing Machine Cubic of Pickled Fishes in Blister Packs), เงินอุดหนุนโครงการวิจัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช), งบประมาณ 285,000, ผู้ร่วมโครงการ.

งานวิจัยที่กำลังทำ 

  1. การพัฒนาเครื่องเคลือบกระดาษสาด้วย ฟิล์มย่อยสลายได้ (A Development of Machine for Laminate Mulberry Paper by Biodegradable Films), โครงการสนับสนุนการวิจัยขยายผลสู่การปฏิบัติและพัฒนาต่อยอดงานวิจัยและสิ่ง ประดิษฐ์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2552, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช), งบประมาณ 395,000 บาท, ผู้ร่วมโครงการ.
  2. เชือกจากเยื่อกล้วยผสมหญ้าแฝก สำหรับสานเฟอร์นิเจอร์ (Rope from Banana and Vetiver Grass Fiber for Weaving Furniture), เงินอุดหนุนโครงการวิจัยประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช), งบประมาณ 211,000, ผู้ร่วมโครงการ.
  3. การพัฒนาไม้เทียมจากพอลิพรอพิลีนรี ไซเคิลผสมเส้นใยหญ้าแฟกสำหรับฉีดขึ้นรูปผลิตภัณต์ตัวต่อผนังกั้นชนิดถอด ประกอบได้, ทุนอุดหนุนการวิจัย ประเภทโครงการสนับสนุนการวิจัยภายใต้โครงการ 2-V Research Program : โครงการเพิ่มมูลค่าและมูลค่าผลผลิตจากงานวิจัยและสิ่งประดิษฐ์ ประจำปี 2554, สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช), งบประมาณ 570,000, ผู้ร่วมโครงการ.

รางวัลที่เคยได้รับ

  1. รางวัล Bronze Prize ผลงานเรื่อง Laminating PVC Films on Mulberry Paper จาก The Korea Invention Promotion Association (KIPA) ในงาน Seoul International Invention Fair 2009 (SIIF 2009) วันที่ 3  – 7 ธันวาคม 2552 ณ ประเทศ เกาหลี
  2. รางวัล Special Prize for Commending Excellent Efforts to Create Inventions Exhibited จาก The Korea Invention Promotion Association (KIPA) ในงาน Seoul International Invention Fair 2009 (SIIF 2009) วันที่ 3  – 7 ธันวาคม 2552 ณ ประเทศ เกาหลี
  3. โล่ห์รางวัลและเกียรติบัตร  นักวิจัยดีเด่น สร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัย ด้านงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวตกรรม จาก มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วันที่ 18 มกราคม 2553

การจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร

  1. อนุสิทธิบัตรเรื่อง เครื่องต้นแบบอัดแผ่นอัดจากเศษพืชด้วยระบบไฮดรอลิค
    เลขที่คำขอ 0903000689  ยื่นคำขอเมื่อวันที่  2 กรกฏาคม 2552 ผู้ประดิษฐ์  นายอนินท์  มีมนต์
  2. นุสิทธิบัตรเรื่อง เครื่องเคลือบกระดาษสาด้วยฟิล์มพลาสติก
    เลขที่คำขอ 0901004257 ยื่นคำขอเมื่อวันที่  22 ก.ย. 2552 ผู้ประดิษฐ์  นายอนินท์  มีมนต์

รายการนำเสนอบทความในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (International)

  1. A. Memon and S. Ithisophonakul, “A Study on Milling of Wood Plastic Composite from PVC Foam Scrap and Wood Dust”, 7th Eco-Energy and Materials Science and Engineering Symposium, Chiang Mai, Thailand, 19-22 Nov. 2009,    p 344-347.
  2. Anin  Memon and Somsak  Ithisophonakul, “Laminating PVC Films on Mulberry Papers”, Pure and Applied Chemical Conference 2010, Ubon Ratchathani, Thailand, 21-23 Jan. 2010.
  3. A. Memon, S. Ithisophonakul and S. Pramoonmak, “Investigation into the Usability of Recycle Glass Bottle Making Color Glass Plate for Wall’s Decoration”, The 8th Eco-Energy and Materials Science and Engineering Symposium,  21 August 2010.
  4. S. Ithisoponakul, S. Pramoonmak, L. Montip, P. Nateechai and A. Memon,              “A Development of Laminating Mulberry Paper by Biodegradable Films”, 9th Eco-Energy and Materials Science and Engineering Symposium, Chiang Rai, Thailand, 25-28 May. 2011.

รายการบทความทางวิชาการที่ได้ตีพิมพ์ในวารสารในประเทศ

  1. กิตติพงษ์ กิมะพงศ์  อนินท์ มีมนต์ และ ประกอบ บุญยงค์ “การเชื่อมฟริกชั่นสเตอร์รอยต่อชนอลูมิเนียมผสมและเหล็ก” เทพสตรีวิจัย ครั้งที่ 1 17-18 สิงหาคม 2549 มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี จังหวัดลพบุรี  หน้า 1-5.
  2. กิตติพงษ์ กิมะพงศ์  อนินท์ มีมนต์ และ ประกอบ บุญยงค์. “การเชื่อม ริกชั้นสเตอร์รอยต่อชนอลูมิเนียมผสมและเหล็ก”, วารสารวิศวกรรมศาสตร์ราชมงคลธัญบุรี, 2549 ; ปีที่ 4 ฉบับที่ 7 : หน้า 1-5.
  3. เพ็ญศรี  พูลผล, ไกรษร  ไทยแท้, ชัยวัฒน์ สัมฤทธิวณิชชา, ชวลิต แสงสวัสดิ์ และอนินท์ มีมนต์, “การผลิตไม้เทียมจากเศษโฟมพีวีซีกับผงไม้”, วารสารวิศวกรรมศาสตร์ราชมงคลธัญบุรี, 2549 ; ปีที่ 4 ฉบับที่ 7 : หน้า 30-34.
  4. กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ อนินท์ มีมนต์ และ ประกอบ บุญยงค์. “โครงสร้างจุลภาคและกลสมบัติของรอยต่อฟริกชั่นสเตอร์ของอลูมิเนียมและเหล็ก, วิทยาสารกำแพงแสน ธันวาคม 2549 ; ปีที่ 4 ฉบับพิเศษ : หน้า 174–181.
  5. กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ อนินท์ มีมนต์ และ ประกอบ บุญยงค์. “การศึกษาสมบัติของรอยต่อเกยการเชื่อมฟริกชั่นสเตอร์หลายแนวของอลูมิเนียม และเหล็ก, วิทยาสารกำแพงแสน ธันวาคม 2549 ; ปีที่ 4 ฉบับพิเศษ : หน้า 182-189.
  6. กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ อนินท์ มีมนต์ และ ประกอบ บุญยงค์. “อิทธิพลการเชื่อม ฟริกชั่นสเตอร์หลายแนวต่อกลสมบัติของรอยต่อเกยของอลูมิเนียมและเหล็ก”, วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม กันยายน 2550; ปีที่ 26 ฉบับพิเศษ : หน้า 63-68.

รายการนำเสนอบทความในการประชุมวิชาการระดับชาติ (National)

  1. กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ อนินท์ มีมนต์ และ ประกอบ บุญยงค์ “การเชื่อมฟริกชั่นสเตอร์รอยต่อชนอลูมิเนียมผสมและเหล็ก” เทพสตรีวิจัย ครั้งที่ 1 17-18 สิงหาคม 2549 มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี จังหวัดลพบุรี  หน้า 1-5.
  2. กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ อนินท์ มีมนต์ และ ประกอบ บุญยงค์ “อิทธิพลการเชื่อมฟริกชั่นสเตอร์หลายแนวต่อกลสมบัติของรอยต่อเกยอลูมิเนียม และเหล็ก” การประชุมทางวิชาการมหาวิทยาลัยมหาสารคามวิจัย ครั้งที่ 2 6-8 กันยายน 2549 มหาวิทยาลัยมหาสารคาม     จังหวัดมหาสารคาม หน้า 50.
  3. กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ อนินท์ มีมนต์ ประกอบ บุญยงค์ สมศักดิ์ อิทธิโสภณกุล    และณัฐ แก้วสกุล “ความต้านทานแรงดึงและตำแหน่งการพังทลายของรอยต่อชนอลูมิเนียมและเหล็กกล้า โดยการเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบกวน” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 5  10-11 พฤษภาคม 2550 แผ่นซีดีรอม.
  4. กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ อนินท์ มีมนต์ ประกอบ บุญยงค์ สมศักดิ์ อิทธิโสภณกุล   และณัฐ แก้วสกุล “การเชื่อมรอยต่อเกยอลูมิเนียมผสมและเหล็กกล้าด้วยการเสียดทานแบบกวน: รายงานที่ 1 อิทธิพลตัวแปรการเชื่อมต่อกลสมบัติของรอยต่อเกย” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 5     10-11 พฤษภาคม 2550 แผ่นซีดีรอม.
  5. อนินท์  มีมนต์,  “การศึกษาการขึ้นรูปแผ่นแก้วสำหรับบุผนังจากขวดแก้วรีไซเคิล”, การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 4 6-7 ธันวาคม 2550 แผ่นซีดีรอม.
  6. อนินท์  มีมนต์  และนทีชัย ผัสดี, “การศึกษาการขึ้นรูปแก้วสีจากขวดแก้วรีไซเคิล”, การประชุมสัมมนาทางวิชาการราชมงคลอีสานวิชาการ ครั้งที่ 1 9-11 มกราคม 2551 หน้า 25.
  7. อนินท์ มีมนต์ “การปิดผนึกถ้วยพลาสติกแบบอัตโนมัติด้วยฟิล์มโพลีพรอพิลีน”  การประชุมทางวิชาการเครือข่ายการวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ปี 2551 หัวข้อเทคโนโลยีสู่ชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 17-19 มกราคม 2551 มหาวิทยาลัยขอนแก่น  จังหวัดขอนแก่น หน้า 129-132.
  8. อนินท์  มีมนต์, จันทร์ประภา  พ่วงสุวรรณ และเอกชัยโถเหลือง “กระบวนการพิมพ์สกรีนด้วยเครื่องสกรีนแบบกึ่งอัตโนมัติ”, การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์  ครั้งที่ 6   8-9 พฤษภาคม 2551 แผ่นซีดีรอม.
  9. ศิริชัย ต่อสกุล และ อนินท์  มีมนต์, “การออกแบบและพัฒนาเครื่องดัดท่อเหล็กกลวงขนาดความหนา 0.4 มิลลิเมตร”, การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลวิชาการ ครั้งที่ 1  27-29 สิงหาคม 2551  หน้า 254.
  10. อนินท์  มีมนต์, สมศักดิ์  อิทธิโสภรกุล, นิพนธ์ กิจชระภูมิ และศักดิ์ชัย  จันทศรี, “เครื่องปิดผนึกถ้วยพลาสติกด้วยฟิล์มโพลีพรอพิลีนแบบอัตโนมัติ”, การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลวิชาการ ครั้งที่ 1  27-29 สิงหาคม 2551  หน้า 255.
  11. จันทร์ประภา  พ่วงสุวรรณ, เอกชัยโถเหลือง และ อนินท์  มีมนต์,, “เครื่องต้นแบบระบบการพิมพ์สกรีนแบบกึ่งอัตโนมัติ”, การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลวิชาการ ครั้งที่ 1  27-29  สิงหาคม 2551  หน้า 272.
  12. อนินท์  มีมนต์, “แผ่นแก้วสีตกแต่งผนังอาคารจากขวดแก้วรีไซเคิล”, การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2551  20-22 ตุลาคม 2551 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หน้า 293.
  13. ศิริชัย ต่อสกุล, อนินท์ มีมนต์  และ ธีรยุทธ  กาญจนแสงทอง, “การออกแบบแม่พิมพ์ไฟน์แบลงค์กิ้งโดยการใช้หลักการแม่พิมพ์แบลงค์กิ้ง”, การประชุมวิชาการ 10 ปี มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง วันที่ 26-28 พฤศจิกายน 2551 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง, แผ่นซีดีรอม.
  14. อนินท์  มีมนต์, สมศักดิ์  อิทธิโสภณกุล, เอกชัย  โถเหลือง และ จันทร์ประภา      พ่วงสุวรรณ, การเคลือบลามิเนตสำหรับสิ่งพิมพ์ระบบไม่สัมผัสด้วยกาวลา, การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยขอนแก่น ประจำ 2552หัวข้อ “การพัฒนาชนบทที่ยั่งยืน” 29-30 มกราคม 2552 มหาวิทยาลัยขอนแก่น  จังหวัดขอนแก่น หน้า 296-302.
  15. อนินท์ มีมนต์ ศักดิ์ชัย  จันทศรี สมศักดิ์ อิทธิโสภณกุล และจักรกฤษ  อ่อนชื่นจิตร “การเคลือบกระดาษสาด้วยฟิล์มลามิเนตเซลลูโลสโพรพิโอเนต” การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 7     21-22 พฤษภาคม 2552 แผ่นซีดีรอม.
  16. อนินท์  มีมนต์ และสมศักดิ์  อิทธิโสภณกุล, “เครื่องบรรจุภัณฑ์อาหารแบบถุงพอลิเอทธีลีนด้วยระบบสุญญากาศ”, การประชุมทางวิชาการ นเรศวรวิจัย ครั้งที่ 5, 28-29 กรกฏาคม 2552.
  17. อนินท์  มีมนต์, จงกล  สุภารัตน์ และศิริชัย  ต่อสกุล, “เครื่องบรรจุและปิดผนึกพริกป่นแบบซองพลาสติก”, การประชุมวิชาการบทบาทของมหาวิทยาลัยต่อการศึกษาที่เน้นการปฏิบัติงานจริง ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 23 – 28 สิงหาคม 2552, แผ่นซีดีรอม.
  18. เอกชัย  โถเหลือง, จันทร์ประภา  พ่วงสุวรรณ และ อนินท์  มีมนต์, “เครื่องต้นแบบเคลือบวาร์นิชฐานน้ำบนสิ่งพิมพ์”, การประชุมวิชาการบทบาทของมหาวิทยาลัยต่อการศึกษาที่เน้นการปฏิบัติงานจริง ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 23 – 28 สิงหาคม 2552, แผ่นซีดีรอม.
  19. อนินท์ มีมนต์, กิตติพงษ์  กิมะพงศ์ และสมศักดิ์  อิทธิโสภณกุล, “การผลิตน้ำดื่มแบบถ้วยพลาสติกพอลิพรอพิลีนขนาดบรรจุ 220 มิลลิลิตร”, การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 8  22-23 เมษายน 2553 แผ่นซีดีรอม.
  20. อนินท์  มีมนต์, จงกล สุภารัตน์, ศิริชัย ต่อสกุล และ สมศักดิ์ อิทธิโสภณกุล, “การศึกษาการใช้งานของไม้เทียมสร้างมาสเตอร์โมเดลสำหรับหล่ออินเสิร์ตแม่ พิมพ์ฉีดพลาสติก”, การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2553 ณ โรงแรมสุนีย์แกรนด์ แอนด์คอนเวนชั่นเซ็นเตอร์ จ.อุบลราชธานี  13 –  15 ตุลาคม  2553คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, แผ่นซีดีรอม.

ผลงานการประดิษฐ์ที่ได้มีการตีพิมพ์ในสิ่งพิมพ์อื่นๆ

  1. อนินท์ มีมนต์ , “เครื่องปิดผนึกแก้วพลาสติกขนาดกระทัดรัดเพื่อธุรกิจขนาดเล็ก” คอลัมน์คิดเป็นเทคโนฯ วารสารเทคโนโลยีชาวบ้าน ปีที่ 18 ฉบับ 370 วันที่ 1 พฤศจิกายน 2548 หน้า 32.
  2. อนินท์ มีมนต์ , “เครื่องปิดผนึกแก้วพลาสติกขนาดกระเป๋าเพื่อธุรกิจในครัวเรือน” คอลัมน์ทำได้ไม่จนหนังสือ พิมพ์ไทยรัฐ ฉบับที่ 17-398 วันศุกร์ที่ 9 กันยายน 2548 หน้า 7.
  3. อนินท์ มีมนต์ , “เครื่องปิดผนึกถ้วยพลาสติกแบบอัตโนมัติด้วยฟิล์มโพลีพรอพิลีน” คอลัมน์รอบรั้วการศึกษา คุณภาพชีวิต, หนังสือพิมพ์ผู้จัดการรายวัน ฉบับที่ 5359 (5357) วันศุกร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ 2551 หน้า 12.

Comments are closed.